6. valuation of young company
ลักษณะของ young company
1.
no historical performance data (มีตัวเลขย้อนหลังน้อย)
2.
small or no revenue, operating
loss (รายได้ต่ำ ขาดทุนในช่วงแรก)
3.
many don’t survive (มีโอกาสเจ๊งสูง)
4.
low liquidation (จำนวนหุ้นน้อย
เข้ายากออกยาก)
6.1. การคำนวณ intrinsic value
วิธีการคำนวณ intrinsic value ก็เหมือนกับที่อธิบายมา
แต่ใช้ตัวเลขที่ต่างกันในแต่ละปี ดังนี้
1.
growth ของยอดขายต้องเพิ่มขึ้นสูงในปีแรกๆและค่อยๆต่ำลงในปีหลังๆ
2.
operating margin อาจจะต่ำ(หรือติดลบ)ในปีแรกๆ
แล้วค่อยๆดีขึ้นในปีหลังๆ อย่าลืมเอาผลขาดทุนสะสมมาคิดตอนหา after-tax
operating income ด้วย
3.
ประมาณการเรื่อง reinvestment
rate ด้วย
4.
cost of equity/capital จะสูงในปีแรกๆ แล้วค่อยๆต่ำลงในปีหลังๆ (ตามความเสี่ยงที่ลดลง)
5.
ค่าที่คำนวณได้ให้คูณด้วย % ที่บริษัทจะอยู่รอดด้วย
จากการวิจัย(ของใครที่ไหนก็ไม่รู้)พบว่า
44% ของบริษัทเปิดใหม่อยู่รอดได้มากกว่า
4 ปี และ 31%ของบริษัทเปิดใหม่อยู่รอดได้มากกว่า
7 ปี
6.2. relative valuation
ปัญหาที่พบ
1.
life cycle มีผลกับตัวเลขที่ใช้คำนวณ
ratio
2.
บริษัทมีโอกาสเจ๊งสูง ดังนั้น ratio ต่างๆก็อาจจะต่ำกว่าบริษัทที่อยู่มานานแล้ว
3.
ตัวเลขในงบที่ใช้คำนวณratioอาจจะต่ำหรือติดลบ ดังนั้น ratio อาจจะคำนวณไม่ได้หรือไม่ก็ค่าสูงเวอร์จนเปรียบเทียบไม่ได้
4.
liquidity ต่ำก็อาจทำให้ค่า
ratio ต่างๆสูงเวอร์ได้(เพราะตัวหารมีค่าน้อย?)
วิธีแก้
1.
ใช้ค่าในอนาคตมาคำนวณ ratio ไม่ว่าจะเป็น revenue/earning หรือ growth rate คำนวณเสร็จสรรพแล้วค่อย discount
ลงมาเป็น present value
2.
คูณค่าที่ได้ด้วย % ในการที่บริษัทจะรอดไปถึงอนาคตนั้นด้วย เช่น
ถ้าใช้ตัวเลขประมาณการที่ปีที่ 5 แล้วได้ enterprise
value ที่ 749 ล้านบาท ปรับลดเป็น present
value ได้ที่ 457 ล้านบาท โอกาสรอดถึงปีที่ 5
มี 67% ก็จะได้ enterprise value ที่ 457 x 0.67 = 305 ล้านบาท อย่างนี้เป็นต้น
7. valuation of growth company
ลักษณะของ growth company
1.
dynamic financial (งบการเงินเปลี่ยนแปลงเร็ว)
2.
size disconnect (ราคาตลาดสูงมากๆเมื่อเทียบกับ
book value รายได้หรือกำไร)
3.
use of debt (หนี้ต่ำ
เพราะไม่ค่อยมีใครยอมให้กู้)
4.
short and unstable historical
performance data (มีตัวเลขย้อนหลังน้อยและตัวเลขแกว่ง)
7.1. การคำนวณ intrinsic value
วิธีการคำนวณ intrinsic value คล้ายๆกับของ young
company คือใช้ตัวเลขที่ต่างกันในแต่ละปี ดังนี้
1.
growth ของยอดขายต้องเพิ่มขึ้นสูงในปีแรกๆและค่อยๆต่ำลงในปีหลังๆ
2.
operating margin อาจจะต่ำในปีแรกๆ
แล้วค่อยๆดีขึ้นในปีหลังๆ หรือตรงกันข้ามคือ
operating margin ดีเวอร์ในปีแรกๆ
แล้วค่อยปรับลงสู่ industry averageในปีหลังๆ
3.
ประมาณการเรื่อง reinvestment
rate ด้วย
4.
cost of equity/capital จะสูงในปีแรกๆ แล้วค่อยๆต่ำลงในปีหลังๆ (ตามความเสี่ยงที่ลดลง)
5.
growth ควรจะปรับเข้าสู่
average ภายในเวลาไม่นานเกินไป (ไม่น่าเกิน 10 ปี)
7.2. relative valuation
อันนี้ก็คล้ายๆกับตอนที่หามูลค่าของ
young company
1.
ใช้ค่าในอนาคตมาคำนวณ ratio ไม่ว่าจะเป็น revenue/earning หรือ growth rate คำนวณเสร็จสรรพแล้วค่อย discount
ลงมาเป็น present value
2.
ใช้ PEG แทน PE เนื่องจากมันมี growth เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย PE
อย่างเดียวอาจจะไม่เหมาะที่จะเปรียบเทียบ (มันคงสูงไป)
3.
ถ้ามีสมการ regression เช่น
ระหว่าง PE กับ growth rate และ beta ก็อาจจะใช้คำนวณหา PE ที่เหมาะสมได้
blogอื่นๆของหนังสือเล่มนี้
The Little Book of Valuation - Aswath Damodaran (ตอนที่ 1/6)
The Little Book of Valuation - Aswath Damodaran (ตอนที่ 2/6)
The Little Book of Valuation - Aswath Damodaran (ตอนที่ 3/6)
The Little Book of Valuation - Aswath Damodaran (ตอนที่ 4/6)
The Little Book of Valuation - Aswath Damodaran (ตอนที่ 5/6)
The Little Book of Valuation - Aswath Damodaran (ตอนที่ 6/6)
The Little Book of Valuation - Aswath Damodaran (ตอนที่ 2/6)
The Little Book of Valuation - Aswath Damodaran (ตอนที่ 3/6)
The Little Book of Valuation - Aswath Damodaran (ตอนที่ 4/6)
The Little Book of Valuation - Aswath Damodaran (ตอนที่ 5/6)
The Little Book of Valuation - Aswath Damodaran (ตอนที่ 6/6)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น